สืบค้นเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) จากฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ (Thesis Database) ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
การวิจัยครังนีมีความมุ่งหมายเพื่อใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา กำหนด องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการ สร้างและตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทาง วิชาการตามองค์ประกอบที่กำหนดไว้ จนถึงขันได้รูปแบบที่เหมาะสม และเป็นไปได้ในการ นำไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของนักวิชาการศึกษา ในองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา คือ นักวิชาการศึกษาที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร จำนวน 30 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 90 คน ประกอบด้วยผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชังหวัด สกลนคร จำนวน 30 คน ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 30 คน และนักวิชาการศึกษา จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบวัดความรู้ และเจตคติ และหลักสูตรการ‘ฟิกอบรม สถิติที่ใช้ในการวิจัยเป็นสถิติพืนฐาน คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test (Dependent Sample) การวิจัยในครังนี แบ่งเป็น 3 ระยะ ซึ่งมีผลการวิจัยดังนี
1. องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการที่เหมาะสมของนักวิชาการศึกษา ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) มีความเข้าใจในทฤษฎีและปรัชญาของหลักสูตรที่ใช้ใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการชัดการเรียนรู้แบบต่างๆ 3) ริเริ่มและส่งเสริมสนับสนุนให้ครูใช้นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ 4) ส่งเสริมให้ชัดการเรียนที่ยึด ผู้เรียนเป็นสำคัญ 5) มีศักยภาพในการพึ่งตนเอง ในการพัฒนางานวิชาการ 6) สนับสนุนและส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้จัดการเรียนรู้ 7) นิเทศและกำกับให้ การเรียนรู้เป็นไปตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
2. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการสำหรับนักวิชาการศึกษา ในองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ชังหวัดสกลนคร ประกอบด้วย 6 ขันตอน ได้แก่ 1) ขันวิเคราะห์ความ ต้องการในการพัฒนา 2) ขันประเมินผลก่อนการพัฒนา 3) ขันดำเนินการพัฒนา 4) ขันประเมินผล หลังการพัฒนา 5) ขันปรับปรุง และ 6) ขันคงสภาพ 3. ผลการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของนักวิชาการศึกษาพบว่า
3.1 การปฏิบัติการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการ โดยการศึกษาดูงานหน่วยงาน ที่จัดการศึกษาดีเด่น และการ‘ฟิกอบรม พบว่านักวิชาการศึกษาที่เช้ารับการ‘ฟิกอบรมมีความรู้ เกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการ และมีเจตคติต่อพฤติกรรมการใช้ภาวะผู้นำทางวิชาการดีกว่า ก่อนการ‘ฟิกอบรม
3.2 การประเมินผลการพัฒนา โดยประเมินความคิดเห็นของฝ่ายบริหารครูผู้ดูแลเด็ก และนักวิชาการศึกษา ต่อพฤติกรรมการใช้ภาวะผู้นำทางวิชาการในการปฏิบัติงาน พบว่า มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการใช้ภาวะผู้นำทางวิชาการในการปฏิบัติงานหลังการ พัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน
The purposes of this Research and Development study were to set factors on academic leadership, to construct and examine a model of developing academic leadership according to the factors set up to the obtaining of the appropriate form and feasibility to put into action toward the development of academic leadership of the educators in the local administration organizations. The target group consisted of 30 educators under the local administration organizations in Sakon Nakhon obtained through Purposive Sampling and 90 informants comprising 30 executives, 30 child caregivers and 30 educators under the local administration organizations in Sakon Nakhon. The instruments employed included a form of interview, a set of questionnaires, a form of knowledge and attitude measurement, a curriculum on training and a form of resource persons’ performance evaluation. Percentage, mean, standard deviation and t-test (Dependent Samples) were used to treat the data statistically. This R&D study was categorized into 3 phases.
This study yielded the following significant findings:
PHASE 1
The investigation of the appropriate academic leadership factors among the educators revealed that they: 1) gained knowledge regarding theories and philosophy of the curricula applied in the local administration organizations, 2) obtained knowledge, understanding and skills in various techniques/methods of teaching, 3) initiated and promoted the use of innovation for learning among the teachers/child caregivers, 4) fostered the application of learner-centered approach, 5) gained self-reliance on academic affairs development, 6) supported and boosted the implementation of information technology and communications to be used in learning management,?) supervised and oversaw the learning processes to be in line with the experience management plans set.
PHASE 2
The pattern of development on academic leadership for the educators under the local administration organizations in Sakon Nakhon was composed of 6 stages: 1) analysis of the development needs, 2) evaluation before the development,3) implementation of development, 4) evaluation after the development, 5) improvement, and 6) status quo.
PHASE 3
The effects of the development on academic leadership revealed that:
3.1 The implementation of academic leadership through the study tours at the agencies/organizations with outstanding management of academic affairs and training sessions indicated that those educators attended the training sessions gained a better knowledge on academic leadership and attitudes toward behaviors on implementation of academic leadership than before the intervention.
3.2 The effects of the evaluation of development evaluated in the perceptions of the executives, child caregivers and educators toward behavior implementation on academic leadership performance showed that the opinions regarding these factors mentioned were at the highest level in every aspect.
ลำดับที่ | ดาวน์โหลดไฟล์ | ขนาดไฟล์ |
1 | fulltext | 15,294.85 KB |