สืบค้นเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) จากฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ (Thesis Database) ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารวิชาการสู่ความเป็นเลิศของของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) พัฒนารูปแบบ การบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 3) ตรวจสอบรูปแบบการบริหารบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งมีขั้นตอนการดาเนินการวิจัย 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารวิชาการสู่ความเป็นเลิศ โดยการสังเคราะห์เอกสาร งานวิจัย สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 9 คน และศึกษารายกรณี 3 โรงเรียน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ จานวน 24 คน ด้วยเทคนิคเดลฟาย 3 รอบ และระยะที่ 3 การตรวจสอบยืนยันรูปแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้การวิจัยเชิงสารวจ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2557 จานวน 609 คน ซึ่งได้มาด้วยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป ทางสถิติหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และโปรแกรมลิสเรล 8.52 วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างรูปแบบตามสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 3 องค์ประกอบหลัก ประกอบด้วย 1) ขอบข่ายงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ 2) การบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ และ3) กระบวนการพัฒนาการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ
2. ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยใช้เทคนิคเดลฟาย พบว่า ได้องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 3 องค์ประกอบหลัก 19 องค์ประกอบย่อย ประกอบด้วย 1) ขอบข่ายงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ จานวน 9 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การพัฒนานวัตกรรมและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การพัฒนาระบบคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การนิเทศการศึกษาการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลและดาเนินการเทียบโอน การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล และการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา 2) การบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ จานวน 6 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ภาวะผู้นาของผู้บริหาร การกระจายอานาจให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม การให้บริการทางวิชาการอย่างมืออาชีพ การมีโครงสร้าง การมุ่งเน้นคุณภาพนักเรียน การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง และการส่งเสริมด้านการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอน และ 3) กระบวนการพัฒนาการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศจานวน 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์การ การควบคุมงาน และการตรวจสอบและประเมินผล
3. รูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (Chi-square = 74.09 df = 87 ค่า p-value = 0.836 ค่า RMSEA = 0.000 ค่า GFI = 0.99 ค่า AGFI = 0.97 ค่า CN = 982.43)
The purposes of this study were: 1) to investigate the elements of academic administration towards excellence of educational opportunity extension schools under Office of the Basic Education Commission (OBEC) in the Northeast region, 2) to develop an academic administration towards excellence model of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region, and 3) to verify the developed academic administration towards excellence model of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region whether it has goodness of fit with the empirical data. The study was conducted into 3 phases: Phase 1: investigating the elements of academic administration towards excellence through the synthesis of documents and research, the interviews with 9 experts and the case study of 3 schools; Phase 2: developing an academic administration towards excellence model of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region through making an inquiry from 24 experts using the Delphi technique for 3 times; and Phase 3: verifying and confirming the model with the empirical data through the survey research. The sample consisted of 609 administrators of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region in academic year 2014 deriving from multi-stage random sampling. The instrument used to collect data was a 5-rating scale questionnaire. The collected data were analyzed by SPSS for windows program to obtain basic statistice of means,standard deviation, Pearson’s product moment coefficients. LISREL 8.52 program which employed to construct the linear equation model and confirmatory factor analysis.
The research results were summarized as follows:
1. Academic administration towards Excellence of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region consists of 3 main elements: 1) The scope of academic affairs towards excellence, 2) academic administration towards excellence, and 3) sub-elements of the process in development of academic administration towards excellence.
2. The results of developing an academic administration towards excellence model of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region showed that the academic administration towards excellence model of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region was composed of 3 main elements and 19 sub-elements comprising: 1) the scope of academic administration towards excellence consisting of 9 sub-elements: namely development of innovation and use of technology media for education, development of school curriculum, development of interior quality system and educational standard, educational supervision, development of learning process, learning measurement, evaluation and transfer of course credits, learning source development and promotion, promotion and support of academic work to personnel, and research for developing educational quality in schools; 2) academic administration towards excellence consisting of 6 sub-elements, namely administrative leadership, professional academic service giving, decentralization for stakeholders to be involved, having an academic administration structure, focusing on student, parents and concerned people, and promotion of instructional research; and 3) the process in development of academic administration towards excellence consisting of 4 sub-elements, namely planning, organizing, controlling and monitoring as well as assessment.
3. The academic administration towards excellence model of educational opportunity extension schools under OBEC in the Northeast region has goodness of fit with the empirical data at the .01 level of significance. Chi-square = 74.09 df = 87, p-value = 0.836, RMSEA = 0.000, GFI = 0.99, AGFI = 0.97, CN = 982.43
ลำดับที่ | ดาวน์โหลดไฟล์ | ขนาดไฟล์ |
1 | fulltext | 5,856.25 KB |